คู่มือ คำสั่งพื้นฐานต้องใช้ทุกวันเป็นไอที ping, tracert, arp, nslookup

คู่มือ คำสั่งพื้นฐานต้องใช้ทุกวันเป็นไอที

ping, tracert, arp, nslookup

Start>run>cmd หรือ กดปุ่มรูปโลโก้ Windows+R >cmd

ping 192.168.99.5
Reply from 192.168.99.5: bytes=32 time<1ms TTL=64  
        / ปลายทางเป็น Linux หรือ Router ขนาดเล็ก TTL= 0-64
Reply from 192.168.99.5: bytes=32 time<1ms TTL=128 
        / ปลายทางเป็นตระกูล x86 หรือ Windows TTL= 65-128
Reply from 192.168.99.5: bytes=32 time<1ms TTL=255 
        / ปลายทางเป็น Router Linux Printer ขนาดกลาง-ขนาดใหญ่ TTL= 129-255
ค่าของ TTL จะลดลงเรื่อย ๆ เมื่อวิ่งผ่านอุปกรณ์ Router หรือ Network

Reply from 192.168.99.5: bytes=32 time<1ms TTL=253 / เช่น TTL 253 คือวิ่งผ่าน Router L3 มา 2 ตัว

ping

ping 192.168.99.5 -t / ping -t ไปยัง IP เครื่องเป้าหมายไปเรื่อย ๆ ไม่หยุดจนกว่าจะกด Ctrl+C
ping -a 192.168.99.5 / ping -a ไปยัง IP แล้วให้ Resolve DNS กลับมาเป็น ชื่อเครื่อง หรือ เครื่องกลับเป็นไอพี
ping -4 192.168.99.5 / ping -4 ไปยัง IP ปลายทาง แล้ว เปลี่ยนจาก IPv6 เป็น IPv4
ping -n 8 192.168.99.5 / ping -n ไปยัง IP ปลายทางระบุจำนวน 8 ครั้ง

tracert

tracert 8.8.8.8
คือการตรวจสอบเส้นทางการวิ่งของ packet เอาไว้ตรวจสอบว่า Network เราไปตายที่ไหน Router หรือ Firewall หรือเน็ตตายเมื่อไหร่นี่คือสิ่งแรกที่ต้องทำ

arp -a

เอาไว้แสดง IP กับ MAC

nslookup

เอาไว้ Resolve DNS เปลี่ยน IP เป็นชื่อเครื่อง หรือจากเปลี่ยนเครื่องเป็น IP
ปล.ระบบที่ดีควร Resolve DNS ได้ทั้งไปแล้วกลับ และควรใช้ DNS ในการ Map Drive เพื่อตรวจสอบ DNS ไปในตัว

เพิ่ม Tools Free : PowerCmd สำหรับเพิ่มความเป็นมืออาชีพขึ้นไปอีก

เพิ่มเติมจากท่านผู้รู้จริง
https://www.facebook.com/groups/thaiadmin/permalink/2002488569787824/
https://subinsb.com/default-device-ttl-values/?fbclid=IwAR1he_Qag7R6Zw_w6Va53A9thFhT7PJD8_CeY-t3C5z9U6lVSrw8k01z7iM











ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ตัวอย่าง การเปรียบเทียบการเลือก Supplier ต่าง ๆ

IT Policy นโยบายความปลอดภัยด้านไอที

ตัวอย่าง การเขียนแผนงานและงบประมาณประจำปี